Header

สิทธิข้าราชการ ผ่าตัดต่อมฝีคัณฑสูตร

03 กันยายน 2567

สิทธิข้าราชการ ผ่าตัดต่อมฝีคัณฑสูตร

ฝีคัณฑสูตรอาจเป็นชื่อที่หลายคนอาจไม่คุ้นเคย โดยฝีคัณฑสูตรจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด

  • ฝีคัณฑสูตรชนิดที่อยู่ตื้น หรือไม่ซับซ้อน (Simple Fistula) จะเป็นฝีคัณฑสูตรที่มีการเชื่อมต่อระหว่างรูทวารกับผิวหนังเพียง 1 ทาง
  • ฝีคัณฑสูตรชนิดที่ลึกหรือมีความซับซ้อน (Complex Fistula) จะเป็นฝีคัณฑสูตรที่มีความเกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักมากกว่าแบบแรก
    ซึ่งอาจมีทางออกสู่ผิวหนังหลายทาง หรืออาจเชื่อมโยงกับอวัยวะข้างเคียง

การป้องกันการเป็นโรคฝีคัณฑสูตร

  • รักษาความสะอาดบริเวณทวารหนัก เช็ดให้แห้งอยู่เสมอ
  • หลีกเลี่ยงการนั่งนานๆ
  • ทานอาหารที่มีกากใยสูง
  • ดื่มน้ำให้เพียงพอ
  • หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก 

สาเหตุการเกิดโรคฝีคัณฑสูตร

  • การติดเชื้อแบคทีเรีย หรือ เชื้อรา
  • การติดเชื้อวัณโรค
  • โรคลำไส้ใหญ่อักเสบเรื้อรัง
  • โรคมะเร็งทวารหนัก หรือโรคมะเร็งผิวหนังบางชนิด

อาการของโรคฝีคัณฑสูตร

  • ปวด บวม แดง ร้อน หรือคัน บริเวณทวารหนัก หรือแก้มก้น
  • เจ็บเวลาขับถ่ายอุจจาระ
  • มีหนองไหลออกจากทวารหนัก
  • มีน้ำเหลืองซึมออกมาจากรูแผลบริเวณทวารหนัก หรือมีเลือดปนหนองซึมออกมา

การวินิจฉัยโรคฝีคัณฑสูตร

  • ซักประวัติตรวจร่างกายเบื้องต้นโดยแพทย์
  • อัลตราซาวด์ทวารหนักเพื่อตรวจโดยละเอียด
  • หากเป็นฝีคัณฑสูตรชนิดซับซ้อนอาจต้องใช้ MRI (Magnetic Resonance Imaging) ในการตรวจเพื่อความแม่นยำ

การรักษาโรคฝีคัณฑสูตรด้วยการผ่าตัด

     การผ่าตัดฝีคัณฑสูตรมี 2 แบบ คือ

  • การผ่าตัดแบบเปิด
  • การผ่าตัดแบบส่องกล้อง

การเตรียมตัวก่อนผ่าตัดฝีคัณฑสูตร

  • งดอาหารและน้ำ 8 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
  • แจ้งแพทย์เกี่ยวกับยาที่ทานประจำ
  • อาบน้ำฟอกสบู่ให้สะอาด
  • เตรียมเสื้อผ้าที่หลวมสบาย

ระยะเวลาพักฟื้นและวิธีดูแลตัวเองหลังผ่าตัดฝีคัณฑสูตร

  • พักฟื้นในโรงพยาบาล 1-2 วัน
  • ทานยาตามแพทย์สั่ง
  • รักษาความสะอาดบริเวณแผลผ่าตัด
  • นั่งแช่น้ำอุ่น 15-20 นาที วันละ 3-4 ครั้ง
  • ทานอาหารที่มีกากใยสูง
  • ดื่มน้ำให้เพียงพอ
  • หลีกเลี่ยงการนั่งนานๆ
  • ออกกำลังกายเบาๆ

วิธีป้องกัน ไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ

  • รักษาความสะอาดบริเวณทวารหนัก
  • ทานอาหารที่มีกากใยสูง
  • ดื่มน้ำให้เพียงพอ
  • ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
  • หลีกเลี่ยงการนั่งนานๆ
  • ตรวจสุขภาพกับแพทย์เป็นประจำ

 


 

 



ศูนย์การรักษาที่เกี่ยวข้อง

แผนกศัลยกรรม

แผนกศัลยกรรม

สถานที่

ชั้น2

เวลาทำการ

จ,อ,พ,พฤ,ส : 08.00-20.00 ศ,อา : 08.00-17.00

เบอร์ติดต่อ

(056) 000 111 ต่อ 510401 ,510402

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

03 กันยายน 2567

สิทธิข้าราชการ ผ่าตัดไส้เลื่อน(แบบผ่านกล้อง)

ไส้เลื่อน คือลำไส้เล็กเลื่อนออกมาจากผนังกล้ามเนื้อหน้าท้องที่บอบบาง หรือ แรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้นจากการยกหรือออกกำลังกาย

03 กันยายน 2567

สิทธิข้าราชการ ผ่าตัดไส้เลื่อน(แบบผ่านกล้อง)

ไส้เลื่อน คือลำไส้เล็กเลื่อนออกมาจากผนังกล้ามเนื้อหน้าท้องที่บอบบาง หรือ แรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้นจากการยกหรือออกกำลังกาย

03 กันยายน 2567

สิทธิข้าราชการ ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม

ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมที่มีอาการปวดรุนแรงเรื้อรังมานาน และรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การรับประทานยา การทำกายภาพบำบัด แล้วไม่ได้ผล แพทย์อาจพิจารณาทำการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม

03 กันยายน 2567

สิทธิข้าราชการ ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม

ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมที่มีอาการปวดรุนแรงเรื้อรังมานาน และรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การรับประทานยา การทำกายภาพบำบัด แล้วไม่ได้ผล แพทย์อาจพิจารณาทำการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม

03 กันยายน 2567

สิทธิข้าราชการ ผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดี(แบบผ่านกล้อง)

นิ่วในถุงน้ำดี เป็นชิ้นส่วนของแข็งที่เกิดขึ้นในถุงน้ำดี โดยชิ้นส่วนเหล่านี้เกิดขึ้นจากส่วนประกอบของน้ำดี

03 กันยายน 2567

สิทธิข้าราชการ ผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดี(แบบผ่านกล้อง)

นิ่วในถุงน้ำดี เป็นชิ้นส่วนของแข็งที่เกิดขึ้นในถุงน้ำดี โดยชิ้นส่วนเหล่านี้เกิดขึ้นจากส่วนประกอบของน้ำดี